เนื้อหาในเล่ม
ชีวิตในชาติปัจจุบันนี้ น้อยนัก
สั้นนัก
• ทุกชีวิต...ล้วนผ่านกรรมดี
กรรมชั่ว มามากมาย
• ผู้ใดทำเหตุ ย่อมได้รับผล
ตรงตามเหตุแน่นอน
• ทำดีต้องได้ดีเสมอ ไม่มี
ยกเว้นด้วยเหตุผลใดทั้งสิ้น
• ความซับซ้อนของกรรม
• ผลแห่งกรรม...เป็นเครื่องชี้
ให้เห็นถึงการกระทำ
• อำนาจที่ยิ่งใหญ่ของกรรม
นำให้เกิดความแตกต่างของ
ชีวิต
• กรรม...ทำให้เทวดามาเกิด
เป็นมนุษย์ได้
• มนุษย์เกิดเป็นเทวดาได้
เพราะกรรมที่กระทำ
• กรรม...ทำให้มนุษย์เกิดเป็น
สัตว์ได้
• อานุภาพของการให้ความ
เคารพในพระธรรม
ก็นำสัตว์ให้เกิดมาเป็นเทวดา
และมนุษย์ได้
• ทุกชีวิตมีความตายเป็นเบื้อง
หน้า
• ไม่มีสักคนเดียว ที่จะหนี
ความตายพ้น
• ความรู้ว่าต้องตาย เป็นคุณ
ประโยชน์ยิ่งใหญ่
• ปราชญ์ทางพระพุทธศาสนา
สอนให้หัดตายก่อนถึงเวลา
ตายจริง
• การหัดตาย มีคุณเป็นพิเศษ
แก่จิตใจอย่างยิ่ง
• พุทธวิธีเพื่อการหัดตาย
• ฝึกอบรมความคิดว่าเมื่อ
ปราศจากชีวิตแล้ว
• สภาพร่างกายของตนที่เคยเ
คลื่อนไหว จักทอดนิ่ง
• ถูกทอดทิ้งอ้างว้างตาม
ลำพัง หลังปราศจากชีวิต
• ทรัพย์สมบัติที่สะสมไว้ ใน
ขณะที่มีชีวิต
• สิ้นสุดลงแล้วพร้อมกับลม
หายใจ และชีวิตที่สิ้นสุด
• มองให้เห็นสภาพร่างกายที่
ตายแล้ว
• ทรัพย์สมบัติสักนิด เมื่อตาย
ไปก็นำไปไม่ได้
• แม้ร่างกายของเรา ก็ต้องทิ้ง
ไว้ในโลก
• ความเชื่อในชีวิตหลังความ
ตาย
• ชีวิตในชาติข้างหน้ายาวนาน
ไม่อาจจะประมาณได้
• แม้รักตนจริง ควรรักไปถึง
ชีวิตข้างหน้าด้วย
• เมื่อชีวิตดับสลาย...ทุกสิ่งที่
เคยครอง
• ก็ต้องสูญสลายพลัดพราก
• ทุกชีวิตต้องตาย...และจะตาย
ในเวลาไม่นาน
• ความโลภไม่มีขอบเขตนั้น
เป็นทุกข์หนักนัก
• ผู้มีปัญญา มีความฉลาด มี
สัมมาทิฐิ
• จักมุ่งเพียรละกิเลส ก่อน
ความตายมาถึง
• ปล่อยใจจากสิ่งทั้งหลาย
ก่อนถูกความตายบังคับ
• กิเลสทั้งหลาย ล้วนเป็นโทษ
แก่ผู้ตาย
• ผู้ละโลกนี้ไปในขณะที่จิต
เศร้าหมอง...
• ทุคติสำหรับผู้นั้น เป็นอัน
หวังได้
• จิตที่มีกิเลสมาก...ย่อมเศร้า
หมองมาก
• จิตที่เศร้าหมองด้วย
กิเลส...เป็นจิตที่ไม่บริสุทธิ์
• กิเลสกองหลง เป็นเหตุแห่ง
ราคะ โลภะ และโทสะ
• ผู้มีโมหะมาก คือมีความหลง
มาก
• มีความรู้สึกที่ไม่ถูก ไม่ชอบ
ไม่ควร ในตน คน อำนาจ
• บุคคลผู้มีโมหะมาก หลงตน
มาก
• จัดเป็นพวกมีกิเลสมาก มีจิต
เศร้าหมองมาก
• ผลของกรรมที่เที่ยงแท้
หลังความตาย
• ผู้คุ้นเคยกับความดี ทำดีได้
โดยง่าย
• ผู้ที่มีเหตุผล ก็คือผู้มีปัญญา
• ผู้วางเฉย...เป็นผู้ไม่มีกิเลส
เครื่องฟูขึ้น
• ผู้วางเฉย...เป็นผู้มีสติทุกเมื่อ
• ทำความดีด้วยใจว่างจาก
กิเลส
• ทำดีด้วยความโลภและหลง
จักไม่อาจให้ผลสูงสุด
• ทำดีแล้วต้องได้ดี...แน่นอน
เสมอไป
• ทำกรรมดีแล้วจิตใจจักไม่
ร้อนเร่า
• ควรทำดีโดยทำใจให้เป็นก
ลาง ไม่มุ่งหวังสิ่งใด
• ทำความดีอย่างบริสุทธิ์
สะอาดจริงเถิด
• ทำให้ไม่มีตัวเรา ของเรา
ได้...วิเศษสุด
• ตัวเราที่ดี...ต้องมีใจที่อบรม
ด้วยธรรมอันงาม
• อุเบกขาธรรม
• โรคทางจิต ก็เหมือนโรคทาง
กาย
• ยอดของพรหมวิหารธรรม
• ฐานของพรหมวิหารธรรม
• ฯลฯ